Saturday, October 7, 2017
Friday, August 25, 2017
Thursday, August 24, 2017
The Giving Tree, by Shel Silverstein
Once there was a tree... And she loved a little
boy. And every day the boy would come and he would gather her
leaves and make them into crowns and play king of the forest. He would
climb up her trunk and leap from her branches and eat
apples. And they would play hide and go seek. And when he was tired, he
would sleep in her shade. And the boy loved the tree... Very much... And
the tree was happy.
But the time went by, and the boy grew
older. And the tree was often alone. And then one day the boy came to the tree
and the tree said: –“Come, Boy, come and climb up my trunk and swing
from my branches and eat apples and play in my shade and be “happy”. –“I’m too
big to climb and play”, said the boy. “I want to buy things and have fun. I
want some money. Can you give me some money?”
–”I’m sorry but I have no money. I have only leaves and apples. Take my apples, boy, and sell them in the city. Then you will have money and you will be happy”. And so the boy climbed up the tree and gathered her apples and carried them away. And the tree was happy…
–”I’m sorry but I have no money. I have only leaves and apples. Take my apples, boy, and sell them in the city. Then you will have money and you will be happy”. And so the boy climbed up the tree and gathered her apples and carried them away. And the tree was happy…
But the boy stayed away for a long time... and
the tree was sad. And then one day the boy came back and the tree shook with
joy, and she said: –”Come, boy climb up my trunk and swing from my branches
and be happy”.. –“I am too busy to climb trees,” said the boy. “I want a
house to keep me warm. I want a wife and I want children, and so I need a
house. Can you give me a house?” –“I have no house", said the tree,
"the forest is my house. But you may cut off my branches and build
a house. Then you will be happy”. And so the boy cut off her branches and
carried them away to build his house. And the tree was happy.
But the boy stayed away for a long time... and
when he came back, the tree was so happy she could hardly speak. –“Come,
boy”, she whispered, “Come and play” –“I am too old and sad to
play,” said the boy. “I want a boat that can take me far away from here. Can
you give me a boat?” –“Cut down my trunk and make a boat", said the tree,
"then you can sail away... and be happy.” And so the boy cut down her
trunk and made a boat and sailed away. And the tree was happy... But not
really.
And after a very long time the boy came back
again. –“I am sorry, boy", said the tree, "but I have nothing left
to give you— My apples are gone.” –“My teeth are too weak for apples”, said the
boy. –“My branches are gone", said the tree, "you cannot swing
on them—” –”I'm too old to swing on branches", said the boy. - "My
trunk is gone", said the tree, "you cannot climb". - "I am
too tired to climb", said the boy. –“I'm sorry", said the tree,
"I wish I could give you something... but I have nothing
left. I am just an old stump.” –”I don’t need much now” said the boy.
“just a quiet place to sit and rest. I am very tired”. –“Well” said the tree, straightening
herself up as much as she could, “well, an old stump is good for sitting
and resting. Come, Boy, sit down. Sit down and rest.” And the boy did.
And the tree was happy.
THE END
Saturday, August 19, 2017
Tuesday, July 11, 2017
Saturday, July 8, 2017
Tuesday, July 4, 2017
Friday, June 30, 2017
Wednesday, May 31, 2017
ประวัติพระสมศักดิ์ สมจิตฺโต (Phra Somsack Samachitto) Translated
ประวัติพระสมศักดิ์
สมจิตฺโต
พระสมศักดิ์
สมจิตฺโต (วิไลผล) เกิดเมื่อวันอาทิตย์ ที่ 2 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2532 เชื้อชาติลาว
สัญชาติลาว เกิดที่บ้านดอนเงิน อำเภองอย จังหวัดหลวงพระบาง ประเทศ สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตย ประชาชนลาว บิดาชื่อ นายคำผาย วิไลผล (เสียชีวิต) มารดาชื่อ นางบัววอน
วิไลผล อัตมาเป็นบุตรคนที่ 4 มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
5 คน คือ 1.นายโกวิ่น วิไลผล 2.นายอินทะสอน 3.นายวิสิทธิ์
วิไลผล 4.พระสมศักดิ์
วิไลผล และ 5.นายสมพงศ์
วิไลผล พี่ชายทั้ง 3 คน มีแต่งงานแล้ว
น้องชายก็ทำงาน แยกย้ายกันไปทำการทำงานสร้างครอบครัว โยมแม่อาชีพทำสวนอยู่ที่บ้าน
ครอบครัววิไลผล
(คนโตนับจากขวามาซ้าย)
|
เรื่องราวตั้งแต่วัยเด็ก
ภาพโรงเรียนบ้านดอนเงินที่เรียนอยู่ชั้นประถม
ตอนเป็นเด็กเวลาทำอะไรจะเชื่อฟังพ่อแม่ทุกอย่าง
เวลาพ่อแม่ไปไร่ไปสวนก็จะไปกับพ่อแม่ทุกครั้ง
เวลาพ่อแม่บอกให้ดูแลน้องก็จะดูแลอย่างดีไม่เล่นก็พาไปด้วย เวลาว่าง ๆ
ก็จะพาเพื่อนไปเล่นยางบ้าง ตัดกิ่งไม้มาทำลูกข่างเล่น
จัดไม้มาทำเป็นดาบไล่ตีกันเล่น ว่ายน้ำแข่งกัน เล่นทุกอย่างยกเว้นยาบ้า สุรา
และบุหรี่ ชอบเล่นไพ่ เช่น
เวลาบ้านญาติหรือคนในบ้านคลอดลูกเขาก็จะมีพิธีกรรมนั่งคำเดือน หรืองานเฮือนเย็น
(งานศพ) ก็จะเอาไพ่มาเล่นกันเป็นประจำ ทีแรกก็เล่นไม่เป็น
ผู้ใหญ่พาเล่นเราก็อยากจะเล่นด้วย เพราะเห็นว่ามันมันสนุกดี เล่นเอาลูกอมบ้าง
กินน้ำบ้าง แต่ไม่เล่นเอาสะตาง ชอบปกป้องน้องชายตัวเองไม่ให้คนอื่นมารังแก
มีอยู่วันหนึ่งพากันไปเล่นยาง น้องชายยิงแม่นมากไปเลยทีไรได้ทุกครั้งเลย
ไอ้คนแพ้หาว่าน้องชายเราขี้โกง หาว่ายืนเลยเส้นขีด ไม่รู้จริงหรือเปล่า
สุดท้ายก็ผิดหัวกันจนได้ จะต่อยกันไอ้เราเป็นพี่ชายก็ต้องเข้าไปห้ามไม่ก็ยอมสุดท้ายก็เจ็บทั้งคู่
เป็นคนที่ไม่ชอบให้คนมาดูถูก เป็นคนที่มีความอดทนสูงเวลาทำอะไรก็ต้องทำให้มันเสร็จ
ไม่ชอบทิ้งไว้แล้วค่อยมาทำต่อ
บางครั้งก็เอาแต่ใจถ้าพูดกับใครแล้วไปฟังไม่ตามใจก็จะทำคนเดียว เช่น
พ่อแม่บอกไปหาปลา ให้เราชวนคนนู้นคนนี้ไปขัดท้ายให้หรือไปช่วยพายเรือ ส่วนคนทึ่จะให้ไปด้วยมันก็ไม่ยอมอยู่ท้าย
ถ้าให้เราอยู่ท้ายมันก็ไม่ได้ดั่งใจ จำเป็นตัดสินใจไปคนเดียว
แต่พ่อแม่ก็เป็นห่วงไม่อยากให้ไปคนเดียวกลัวจะได้รับอันตราย
บางครั้งไปคนเดียวก็กลลับมาดึกจนบางครั้งพ่อแม่เรียกหา ชีวิตตอนวัยเด็กก็เป็นอย่างนะครับ
สิ่งที่ประทับใจมากที่สุดก็คือการที่ได้ไปใช้ชีวิตอยู่กับคุณปู่-คุณย่า
อยู่คนละบ้านกัน เวลาไปเยี่ยมท่านก็จะขับเรือไปขึ้นไปเอง บ้างครั้งก็ไปช่วยงานญาติๆ
ทำนา เลี้ยงควาย เพราะที่บ้านไม่มีที่ทำไร่ทำนา มีที่ดินก็ทำสวนหมดปลูกไม้สักใส่หมด
ปลูกกล้วยบ้าง ผักสวนครัวบ้าง ส่วนมากจะทำค้าขายกัน
ซื้อเครื่องป่าของดงวันที่เขาเปิดตลาด คนชาวเขาก็จะสะพายของมาแลกเสื้อผ้าเครื่องอุปโภคบริโภค
ยาหลวง และน้ำมันไต้ตะเกียง ได้ข้าวเปลือก เครื่องป่าของดงก็เอาไปขายต่อ
บางครั้งก็มีแม่ค้ามาซื้อที่บ้านทำอยู่อย่างมา 20 กว่าปี
เพื่อหาเงินเลี้ยงลูก 5 คน
คิดไปก็นึกสงสารพ่อแม่ทำงานหนักมาก ต้องตื่นแต่เช้าๆ มือ หาบเครื่องลงเรือเอาไปขายต่างบ้าน
หาบของขึ้นๆลงๆ เป็นประจำ เวลาไม่มีเรียนผมก็จะไปค้าขายกับพ่อแม่ทุกครั้ง
เป็นการแบ่งเบาภาระช่วยพ่อแม่ได้อย่างมาก แต่ที่หนักที่สุดคือแบกข้าวเปลือกและถังน้ำมัน
บางครั้งก็จ้างคนงานจ้างแบกมาตลอด และช่วงที่อยู่กับคุณตา-คุณยายก็จะช่วยท่านเลี้ยงควาย
และทำนา อยู่บ้านตายายมีเพื่อนเยอะกว่าบ้านตัวเอง ตอนวัยเด็กสนุกและมีความสุขมาก
อยู่กับคุณตาคุณยายกับญาติพี่น้องก็มีความสุข หาเช้ากินค่ำไปตามภาษาชาวบ้าน
คุณตาคุณยายก็รักหลานทุกคน เพราะหลานๆ มีแต่ผู้ชายเป็นส่วนมาก
มีกำลังพอที่จะช่วยงานได้ก็พาไปเลี้ยงควาย
มีทั้งควายที่โยมพ่อ-แม่ซื้อมาให้เลี้ยงอยู่กับควายญาติๆ
อยู่ที่นั่นต้องตื่นแต่เช้าทุกวัน เพราะจะต้องเอาควายไปกินหญ้าแล้วก็ไปนา ไปกินข้าวเช้าอยู่เถียงนา
ตอนเย็นขากลับก็จูงควายกลับมาบ้าน
บางครั้งก็หาปูหาปลากลับบ้านมาด้วยทำอยู่อย่างเป็นประจำทุกครั้งที่มาอยู่กับคุณตาคุณยายจะขี้เกลียดไม่ได้เด็ดขาดคุณตาเป็นคนเอาการเอางานมาก
ถึงแม้จะท้อเป็นบางเวลาก็ไม่เหน็ดเหนื่อย แต่ก็มีอยู่สองสามครั้งที่ร้องไห้เพราะควาย
ครั้งแรกก็คือตกหลังควายเพราะยังไม่ได้ฝึก
พอขึ้นขี่หลังมันก็วิ่งสุดขีดเลยอาจตื่นตกใจอะไรก็ไม่รู้
วิ่งไปชนใส่รั้วไม้ไผ่จนตกหลังควายไม่รู้ตัวเลย
ครั้งที่สองควายที่เอาไปปล่อยกินหญ้าปกติเย็นๆ พวกมันก็จะกลับมาบ้านเอง
ซึ่งวันนั้นฝนก็ตกแรงด้วยจนมืดควายก็ยังไม่มาคุณตาก็สั่งให้ไปตามหาก็
ไอ้เราก็ไม่อยากไปเท่าไหร่เพราะมันจะมืดแล้วฝนก็ตกด้วย
แถมทางผ่านก็เป็นป่าช้าซะด้วยตอนกลางวันไม่กลัวเท่าไหร่พอกลางคืนมันยิ่งน่ากลัวมาก
ไม่ไปก็ไม่ได้กลัวควายหายเลยจำเป็นต้องไปกับเขาแต่ก็ไม่เจอ
พอรุ่งเช้าจึงเห็นพวกมันกลับมาบ้านจากนั้นก็เฝ้าดูแลมันตลอด คิดว่าพวกมันอาจหลบฝนที่ไหนสักแห่งจนหาทางกลับบ้านไม่ได้
นี้ก็เป็นอีกเหตุการณ์ที่ทำให้ไม่เคยลืม
วัดหาดคีบเก่าที่บรรพชาสามเณร
บรรพชาเมื่อวันที่ 15
มิถุนายน พ.ศ.2547 พระอุปัชฌาย์ชื่อ สาธุใหญ่ พูมมา โพธิโก
อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านหาดคีบ อดีตเจ้าคณะอำเภองอย อำเภองอย จังหวัดหลวงพระบาง
สปป.ลาว ภาษาลาว คำว่า “สาธุใหญ่” หมายถึง
พระอาจารย์ใหญ่หรือตุ๊เจ้าหลวงนั่นเอง
ท่านเป็นพระมหาเถระโดยพรรษาและตำแหน่งระดับเจ้าคณะอำเภอ ปกครองคณะสงฆ์ทั้งอำเภอ
ตอนนี้ท่านได้มรณภาพไป
|
ภาพเคลื่อนแม่น้ำอูแห่งที่
2 บ้านหาด
ได้หลายปีแล้ว
หลายคนอาจสงสัยว่าทำไมไม่บวชอยู่วัดบ้านเกิดตนเองทั้ง ๆ ที่
วัดที่บ้านก็มีพระเหมือนกัน คือตอนนั้นก็ยังไม่คิดด้วยซ้ำว่าจะได้บวชเป็นสามเณรและไปเรียนต่อที่เมืองหลวงพระบาง
พอโยมพ่อไปติดต่อวัดได้ถึงมาบอกว่าจะให้บวชเรียน ก็รู้สึกแปลกใจไปนิดหนึ่ง
แต่ช่วงนั้นเพื่อนๆ ที่เรียน ม.2 ด้วยก็มีแนวคิดที่จะบวชเหมือนกัน
พอได้กำหนดวันจะบวชก็ไปวัดขอยืมหนังสือเจ้าอาวาสมาท่องคำบรรพชา จนท่องได้หมดแล้วโยมพ่อแม่ก็พาไปบวชที่วัดหาดคีบ
ซึ่งเป็นบ้านของโยมแม่ ตากับยายและญาติก็อยู่ที่นั่นด้วย เวลาไปบ้านหาดคีบก็ต้องไปด้วยเรืออย่างเดียว
แต่ก่อนยังไม่มีถนน แต่ก่อนแม้แต่ไฟฟ้าก็ยังไม่มี นั่งเรือไปก็ใช้เวลาประมาณ 40 นาที แม่น้ำชื่อว่า “แม่น้ำอู” เป็นแม่น้ำอันแห่งที่
2 ที่ยาวที่สุดในประเทศลาวรองจากแม่น้ำโขง
ก่อนจะถึงบ้านหาดคีบต้องผ่านบ้านปากงาไปหนึ่งบ้านก่อน
ก่อนที่จะบวชเป็นสามเณร
โยมพ่อได้ไปหาวัดในเมืองหลวงพระบางให้ก่อน
พอดีมีสามเณรที่เป็นญาติกันบวชอยู่วัดป่าไผ่ มีชัยยาราม
ก็เลยขอวัดให้ไปอยู่ด้วยจะได้ดูแลแนะนำบอกสอน
เมื่อรู้กำหนดวันจะบวชก็รีบหาหนังสือคำขอบรรพชามาท่องใช้เวลาเพียงห้าวันก็ท่องได้หมดเลยรู้สึกตื่นเต้นดีใจที่จะได้บวช
เมื่อถึงวันก็พากันขึ้นมาบ้านคุณตาคุณยายทั้งครอบครัว ญาติ ๆ
ก็ช่วยกันแต่งดาเครื่องบายศรีนาคและอาหารการกิน พอรุ่งเช้าของวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.2547 ตอนเช้า เวลา 08.30 น. หลังจากทานข้าวเสร็จก็เข้ามาวัด
ให้พี่ชายโกนผมให้เสร็จแล้วก็มาเข้าพิธีบายศรีสู่ขวัญนาคตามประเพณีที่บ้านคุณตา-คุณยาย
หลังจากนั้นก็แห่นาคมาวัดเพื่อจะขอบรรพชากับท่านเจ้าอาวาส พระอาจารย์ใหญ่ พูมมา
โพธิโก ท่านยังเป็นเจ้าคณะอำเภออีกด้วยในขณะนั้น
หลังจากบวชเป็นสามเณรเสร็จเรียบร้อยก็นอนพักที่วัดหนึ่งคืนตื่นชั้นข้าวเช้าเสร็จก็ออกเดินทางมาเมืองหลวงพระบาง
ในการบวชวันแรกจะรู้สึกเหงามากมันบอกไม่ถูก
และเริ่มอยากจะรู้ว่าการบวชเป็นสามเณรมันต่างการเป็นฆราวาสตรงไหน
แต่ก็ยังไม่ได้ศึกษาและไม่รู้จะถามใคร แม้แต่จะห่มผ้าก็ยังไม่เป็นคิดอยู่ในใจ
“จะรอดมั้ยเนี่ย” จนได้ย้ายเข้ามาอยู่วัดป่าไผ่ มีชัยยาราม บ้านเชียงม่วน
อำเภอเมือง จังหวัดหลวงพระบาง เมื่อวันที่ 16
มิถุนายน พ.ศ.2547ก่อนที่จะบวชเป็นสามเณร โยมพ่อได้ไปหาวัดในเมืองหลวงพระบางให้ก่อน พอดีมีสามเณรที่เป็นญาติกันบวชอยู่วัดป่าไผ่ มีชัยยาราม ก็เลยขอวัดให้ไปอยู่ด้วยจะได้ดูแลแนะนำบอกสอน เมื่อรู้กำหนดวันจะบวชก็รีบหาหนังสือคำขอบรรพชามาท่องใช้เวลาเพียงห้าวันก็ท่องได้หมดเลยรู้สึกตื่นเต้นดีใจที่จะได้บวช เมื่อถึงวันก็พากันขึ้นมาบ้านคุณตาคุณยายทั้งครอบครัว ญาติ ๆ ก็ช่วยกันแต่งดาเครื่องบายศรีนาคและอาหารการกิน พอรุ่งเช้าของวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.2547 ตอนเช้า เวลา 08.30 น. หลังจากทานข้าวเสร็จก็เข้ามาวัด ให้พี่ชายโกนผมให้เสร็จแล้วก็มาเข้าพิธีบายศรีสู่ขวัญนาคตามประเพณีที่บ้านคุณตา-คุณยาย หลังจากนั้นก็แห่นาคมาวัดเพื่อจะขอบรรพชากับท่านเจ้าอาวาส พระอาจารย์ใหญ่ พูมมา โพธิโก ท่านยังเป็นเจ้าคณะอำเภออีกด้วยในขณะนั้น
ภาพบ้านหาดคีบ
(บ้านจัดสันใหม่)
ปัจจุบันนี้บ้านหาดคีบถูกอพยพมาตั้งรากฐานใหม่เรียกว่า
“บ้านจัดสัน”
เนื่องจากทางรัฐบาลได้อนุมัติให้จีนมาสัมปทานทำโครงการสร้างเคลื่อนไฟฟ้าน้ำอูแห่งที่
2 ขั้นกลางหมู่บ้านหาดคีบ
และสั่งให้ชาวบ้านอพยพย้ายบ้านมาอยู่ริมถนนติดกับบ้านปากงา จากนั้นทางการจีนได้มาเวนคืนพื้นที่ใหม่
และสร้างบ้าน สร้างวัดใหม่ให้กับชาวบ้าน
แต่ถึงอย่างไรก็ตามการที่ทำชาวบ้านต้องย้ายจากบ้านเก่ามาอยู่บ้านจัดสันใหม่ย่อมทำให้ชาวบ้านเสียความรู้สึกเพราะผลที่ได้รับไม่เป็นไม่ตามที่ทางการจีนจะกระทำให้
บอกว่าจะชดใช้ค่าเสียหาย จะดูแลเยียวยาประชาชนตามสัญญา 3 ปี
เพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ก็ไม่ได้ช่วยเหลือแต่ประการใด
ที่ไร่ที่นาที่สวนชาวบ้านสูญหายหมด ไม่มีที่ทำกิน
ตอนนี้บ้านเก่าก็เหลือแต่วิหารที่อัตมาบวชเป็นสามเณรซึ่งทางการจีนยังไม่รื้อถอน
อุปสมบทภิกษุ
ภาพเถราพิเษกจากเจ้าม่อมเป็นสาธุ
คำว่า
“เจ้าม่อม” คือ พระภิกษุ หมายถึง ภิกษุบวชใหม่ จากนั้นเมื่อถึง 3 พรรษา จึงมีศรัทธาขอเถราภิเษก
(หดสรง) เป็น “สาธุ” แปลว่า ดีแล้ว เป็นชื่อเรียกพระสงฆ์เฉพาะหลวงพระบาง
ถ้าเป็นจังหวัดอื่นในลาวก็จะเรียกแตกต่างกันไป เช่น ครูบา พระอาจารย์ หรือ ยาท่าน ยาครู
เป็นต้น การที่จะอุปสมบท ถือว่าเป็นเรื่องใหญ่มากสำหรับอัตมา เพราะกลัวว่าจะท่องคำอุปสมบทไม่ได้
ซึ่งการบวชเณรกับบวชพระมันต่างกัน แต่โชคดีที่รู้ว่าจะได้อุปสมบทหมู่ คือ บวชกัน 3 รูป ก็เลยรับตกลงกับหลวงพ่อ พระพูมมา พรมฺมสาโร
เจ้าอาวาสวัดป่าไผ่ มีชัยยาราม เนื่องจากท่านเป็นเจ้าภาพในการอุปสมบททั้ง 3 รูปพร้อมกัน
ท่านก็ดีใจมากที่ได้บวชพระลูกศิษย์ก่อนสิ้นลมหายใจ ท่านมรณภาพเมื่ออายุ 97 ปี พ.ศ.2554 เมื่อทราบข่าวว่าท่านมรณภาพแล้วก็กลับไปเสียศพท่านจนกว่าเสร็จงานจึงกลับมาศึกษาเล่าเรียนต่อที่ประเทศไทย
วัดป่าไผ่
มีชัยยาราม
ວັດປ່າໄຜ່ ມີໄຊຍາຣາມ ເມືອງຫຼວງພະບາງ ແຂວງຫຼວງພະບາງ
วัดป่าไผ่
มีชัยยาราม สร้างขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช 2308-2334 โดยพระเจ้าสุริยะวงศาธิราช
กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรลาวล้านช้าง ตั้งอยู่ถนนสักกะลิน บ้านเชียงม่วน
เมืองหลวงพระบาง แขวงหลวงพระบาง สปป.ลาว ขณะนั้นมี พระพูมมา พรมฺมสาโร
เป็นเจ้าอาวาสวัดป่าไผ่ มีชัยยาราม หลังจากท่านได้มรณภาพไปก็มีพระเพื่อนด้วยกันรับหน้าที่ดูแลวัดแทน
และปัจจุบันได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดป่าไผ่ มีชัยยาราม จนถึงปัจจุบัน
พระพูมมา
พรมฺมสาโร อดีตเจ้าอาวาสฯ
การที่มาบวชครองเพศบรรพชิตทำให้เราได้เรียนรู้อะไรหลายๆ
อย่าง ที่สำคัญก็คือ ต้องมีความอดทน มีระเบียบวินัย เชื่อฟังครูบาอาจารย์
แค่นี้ก็อยู่ร่วมกันได้แล้ว อัตมาก็ใช้วิตอยู่แบบนี้มาเรื่อยๆ จนครบอายุ 20 ปี
ก็ได้ลาสิกขาไปสอบจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.6 ที่โรงเรียน ม.ส. ชัยเชษฐา เมืองชัยเชษฐา นครหลวงเวียงจันทน์
หลังจากสอบเสร็จแล้วก็กลับมาอุปสมบทอยู่ที่วัดป่าไผ่ มีชัยยาราม ได้ 1 พรรษา
และย้ายมาศึกษาต่อที่ประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.2553
ประวัติการศึกษา
แต่ก่อนจะเปิดรับสมัครเรียนปีนั้น
พ.ศ.2547 ซึ่งเป็นปีแรกที่ผู้อำนวยการโรงเรียนได้ออกประกาศไปยังพระสงฆ์สามเณรทุกรูปที่จะมาสมัครเรียนใหม่ให้สอบท่องบทสวดมนต์ผ่านก่อนแล้วถึงจะรับสมัครเข้าเรียน
สถานที่สอบคือ วัดปากคาน วัด สาธุใหญ่อ่อนแก้ว กิตฺติภัทฺโท
เจ้าคณะอำเภอเมืองหลวงพระบาง ปัจจุบันท่านเป็นเจ้าคณะแขวงหลวงพระบาง
และได้มาสร้างโรงเรียนสงฆ์ที่วัดบ้านเกิดท่านคือวัดป่าผาโอ ห่างจากเมืองหลวงพระบางออกไปทางเหนือ
ประมาณ 20 กม.
เวลาสอบเสร็จแล้วเค้าจะออกใบรับรองให้ว่าคุณสอบผ่านแล้ว
สามารถนำใบรับรองไปยื่นสมัครเข้าเรียนต่อมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตอนนั้นจ่ายค่าธรรมเนียมเพียง 15,000 กีบ เท่ากับ 60 บาท ต่อคน/ปี
ปัจจุบันค่าธรรมเนียมแพงมากไม่ต่ำกว่า 800
ต่อคน/ปี
ถ้าเทียบกับเมื่อก่อน สมัยนั้นการเรียนก็ยังเรียบง่ายอยู่เพราะเป็นเมืองมรดกโลก
คนต่างชาติมาเที่ยวหลวงพระบางกันเยอะมากในแต่ละปี ส่วนมากก็จะมีนักท่องเที่ยวจากไทยและยูโรปกันเยอะ
ช่วงฮายซีชั่นก็จะเป็นช่วงฤดูหนาวและช่วงสงกรานต์ เป็นต้น
การที่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเที่ยวลาว
โดยเฉพาะเมืองหลวงพระบาง ซึ่งขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองมรดกโลกทางด้านวัฒนธรรม
มีวัดวาอารามที่เก่าแก่และงดงาม และมีประวัติศาสตร์วัตถุโบราณมายาวนาน
นอกจากนั้นก็ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่งอีกด้วย
ทำให้พระสงฆ์สามเณรมีความกระตือรือร้นอยากรู้อยากเรียนภาษาต่างประเทศกันมากขึ้น
โดยเฉพาะภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ทั่วโลกยอมรับว่าเป็นภาษาสากล เวลาฝรั่งเข้ามาวัดถามโน่นนี่ก็ตอบเค้าไปไม่ได้
เลยจำเป็นต้องไปเรียนพิเศษตอนกลางคืน หลังจากทำวัตรเย็นเสร็จพระเณรก็จะพากันไปเรียนพิเศษกันเยอะมากรวมทั้งอัตมาด้วย
การเดินทางไปเรียนก็ใช้เวลาเกือบ 30 นาที เดินด้วยเท้าสะพายย่ามไปเรียนพิเศษ
เป็นเวลาอยู่ 2 ปี
ปีแรกก็พอพูดได้นิดหน่อยแต่เราอยากจะทวนบทที่เคยเรียนมาก็เลยตัดสินใจเรียนอีกปี สามารถนำความรู้มาถ่ายทอดสู่สามเณรรุ่นน้องต่อไป
เป็นการฝึกทักษะการสอนของตัวเองไปด้วย พูดคุยกับฝรั่งบ้างอะไรบ้างก็ได้พื้นฐานภาษาอังกฤษมาพอสมควร
อัตมาบวชเป็น สามเณรเป็นเวลา 5 ปี
ซึ่งกำลังจะจบมัธยมศึกษาตอนปลายชั้นปีที่ 6
อายุก็ใกล้จะครบ 20 ปี เจ้าอาวาสวัดป่าไผ่มีชัยยาราม
ขอรับเป็นเจ้าภาพการอุปสมบทให้ข้าพะเจ้า ยังอีกหนึ่งเดือนจะครบ 20 ปี
พอมาถึงเดือนเมษายนก่อนสงกรานต์อัตมาภาพก็ได้ลาสิกขาชั่วคราวก่อนที่จะอุปสมบท
แต่ไม่ทันสอบ ม.6 ก็เลยขอย้ายไปสอบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ
ม.6 ที่โรงเรียน
มส.ชัยเชษฐา เมืองชัยเชษฐา นครหลวงเวียงจันทน์
หลังสอบเสร็จก็กลับคืนมาหลวงพระบาง เพื่อขอบรรพชาอุปสมบทอีกครั้ง เพราะขณะที่เป็นสามเณรอยู่นั้นได้สมัครเรียนที่วิทยาลัยเอกชน
หลักสูตรชั้นสูง 2 ปี หรือ
(ป.ว.ส.) สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ และสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ณ
วิทยาลัยบริหารธุรกิจมณีวัน อำเภอเมือง จังหวัดหลวงพระบาง สปป.ลาว ตั้งแต่ พ.ศ.2550-2553 จบได้รับใบประกาศนียบัตรชั้นสูง (ป.ว.ส.)
ทั้ง 2 ใบ
หลังจากอุปสมบทเป็นพระภิกษุครบ
1 ปี ก็ได้เดินทางมาศึกษาเล่าเรียนต่อที่ประเทศไทยเมื่อปี
พ.ศ.2553 เดินทางข้ามด่านพรมชายแดนเวียงจัน-หนองคาย
ขึ้นรถทัวร์มาลงเชียงใหม่ เพราะว่ามีพระพี่ชายกำลังเรียนปริญญาโทอยู่ที่มหาลัยเชียงใหม่ก็คิดว่าจะอยู่เชียงใหม่กับพระพี่ชาย
แต่พอไปดูวัดแล้วก็ไม่มีที่พักเนื่องจากมีพระเณรอยู่กันเยอะมาก
อีกอย่างพระพี่ชายก็กำลังจะลาสิกขาและจบปริญญาโท ด้วย
ก็เลยคิดว่าจะมาเรียนที่มหาลัยสงฆ์ที่กรุงเทพฯ พอนั่งรถไฟจากเชียงใหม่มาลงกรุงเทพฯ
อากาศก็ร้อนอบอ้าวมากไม่สะดวกในการใช้ชีวิตอยู่ในเมืองใหญ่ พักอยู่กรุงเทพฯ
สองสามวันแล้วก็กลับมาอยู่เชียงราย
ทีแรกก็ไม่รู้ว่าจะได้มาจำพรรษาอยู่ที่วัดพระธาตุผาเงา เพราะคิดอย่างเดียวว่าถ้าไม่ได้เรียนจะกลับคืนไปอยู่หลวงพระบาง
แต่พอมาอยู่วัดพระธาตุผาเงา ก็ได้ตัดสินใจจำพรรษาไปก่อน
เพราะอีกแค่อาทิตย์เดียวจะเข้าพรรษาแล้วก็เลยอดทนจำพรรษา เรียนนักธรรม
และภาษาไทยไปก่อน ออกพรรษาแล้วค่อยว่าอีกที
ที่แรกก็ยังไม่ทราบว่าระบบการศึกษาประเทศไทยและประเทศลาวเปิดการเรียนการสอนไม่พร้อมกัน
เช่น ประเทศลาวกำลังสอบปิดเทอม ประเทศไทยเปิดเรียนไปก่อนแล้ว 1 เดือน
การมาเรียนต่อต่างประเทศจึงเป็นอุปสรรคอย่างมากสำหรับคนที่ไม่รู้ระบบการศึกษาของประเทศใกล้เคียง
เพราะจะต้องทำวีซ่านักศึกษาก่อนสมัครเรียนต่อมันมีระเบียบขั้นตอนเยอะแยะมากมาย
ปัจจุบันประเทศของพวกเราได้เปิดอาเซียนแล้ว
บางสถาบันการศึกษาก็เปิดการเรียนการสอนพร้อมกันในอาเซียน
แต่สำหรับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยก็ยังเปิดไม่พร้อมกัน ยกเว้นสาขาภาษาอังกฤษที่เป็นอินเตอร์
ต่อมาปี พ.ศ.2554 อัตมาภาพฯ
จึงได้สมัครเรียนที่วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย คณะสังคมศาสตร์ สาขารัฐศาสตร์
เอกบริหารรัฐกิจ ซึ่งสาขาวิชาที่ตนเองชอบมากที่สุดในบันดาสาขาต่างๆ ที่เปิดสอน
วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย เป็นวิทยาเขตหนึ่งที่ขึ้นตรงต่อมหาวิทยาลัยส่วนกลาง คือ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เวลาจบการศึกษาก็จะไปรับปริญญาที่นั่นทุกรูปทั่วประเทศ
การศึกษามหาวิทยาลัยของบรรพชิตในประเทศไทยมีอยู่เพียง 2 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มีสาขาวิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ และห้องเรียนอยู่ทั่วทุกจังหวัด สังกัดมหานิกาย
และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีสขาวิทยาเขตอยู่หลายจังหวัดเหมือนกัน
สังกัดธรรมยุตนิกาย ทั้งสองแห่งนี้ค่อนข้างจะแตกต่างการมหาวิทยาลัยของทางโลกมาก
เพราะทุกสาขาวิชาก็จะเน้นศึกษาเกี่ยวพระพุทธศาสนาเป็นพื้นฐาน เช่น พุทธประวัติ
พระไตรปิฎกศึกษา (พระวินัย, พระสูตร, พระอภิธรรม) และ บาลีศึกษา เป็นต้น
นอกจากนี้มหาวิทยาลัยของสงฆ์ยังเน้นการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้กับพระนิสิตนักศึกษา
โดยเฉพาะกิจกรรมการปฏิบัติธรรมประจำปี
และทัศนศึกษาดูงานตามสถานที่สำคัญทางด้านพระพุทธศาสนาทั้งภายในและต่างประเทศ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยของสงฆ์ทั้งสองแห่งได้เปิดรับสมัครนักศึกษาทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์
และเน้นทั้งสองด้านคือวิชาทางโลกและทางธรรมไปพร้อมๆ กัน
ทำให้มีคนสนใจเข้ามาศึกษามากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะพระนิสิตต่างประเทศจากประเทศลาวก็มาเรียนกันเยอะ
ซึ่งอัตมาภาพเองเป็นผู้ก่อชมรมนักศึกษาสงฆ์ลาวเชียงราย
ขณะนั้นมีพระสงฆ์สามเณรลาวเรียนปริญญาตรีด้วยกัน จำนวน 10 กว่ารูป เรียนพระปริยัติธรรม 5-6 รูป และ ก.ศ.น. อีก 2-3 รูป ก็มารวมตัวกันก่อตั้งเป็นชมรมพระนิสิตลาวขึ้นอย่างเป็นทางการ
ประจำปีการศึกษา 2555 เพื่อดูแลซึ่งกันและกัน
โดยเฉพาะเรื่องการทำเอกสารวีซ่าประจำปี การเดินทาง สถานที่พักอาศัย
และดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสมาชิกในชมรม
นอกจากนี้ก็ยังจัดกิจกรรมโครงการเสริมหลักสูตรและทัศนศึกษาดูงานประจำทุกๆ ปี
ทำให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีเกิดขึ้นในชมเราของพวกเรา
ซึ่งมีการจัดการเลือกตั้งประธานคนใหม่ทุกๆ 2 ปี เพื่อหมุนเวียนกันดูแลชมรมต่อไป
ภาพรับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
หลังจากเรียนจบปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆ์เชียงรายเรียบร้อยก็มาสมัครลงทะเบียนเรียนต่อปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สาขาการบริหารการศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 ถึงปัจจุบัน
บางคนอาจคิดสงสัยว่าทำไมพระไม่ไปเรียนของมหาวิทยาลัยของสงฆ์
โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงการราชวิทยาลัย ซึ่งเปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับปริญญาตรี
ปริญญาโท และปริญญาเอก เหมือนกันกับมหาวิทยาลัยทางโลกทุกประการ
บางคนอาจชอบเรียนมหาวิทยาลัยต่างจังหวัด หรือสอบได้ทุนเรียนมหาวิทยาลัยต่าง ๆ หรืออาจเรียนอยู่จังหวัดของตนเอง
ซึ่งอาตมาเข้าใจว่าการศึกษาเป็นเพียงส่วนหนึ่งในการยกระดับเพื่อนำความรู้ไปประกอบอาชีพหรือนำใบประกาศนียบัตรไปสมัครงาน
แต่ถ้าเรียนไปด้วยหางานทำไปด้วยก็จะได้ทั้งความรู้และประสบการ
สำหรับพระแล้วก็มีงานทำเหมือนกันอันเป็นกิจของสงฆ์เพื่อสนองงานเจ้าอาวาส
ก็อาศัยเรียนไปด้วยทำงานไปด้วย
อีกอย่างเจ้าอาวาสวัดพระธาตุผาเงาก็ไม่อยากให้ไปเรียนที่อื่น
เพราะเกรงว่าจะไม่มีใครอยู่ช่วยงาน อัตมาจึงตัดสินใจอยู่ต่อและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายก็มีสาขาวิชาที่น่าสนใจอยู่ก็คือ
สาขาการบริหารการศึกษา นั่นเอง
เพราะคิดว่าอนาคตอาจได้ทำงานในสถานศึกษาและสามารถเป็นผู้บริหารการศึกษาได้ในอนาคต สรุปรวมแล้ว
ตั้งแต่อายุ 8 ปี ถึงปัจจุบันอายุ
27 ปี ก็จะมีการศึกษามาเกี่ยวข้องอยู่เสมอและต่อเนื่องกันมาเรื่อยๆ
จึงบอกกับตัวเองว่า “ถ้าบวชแล้วไม่ได้เรียนก็จะลาสิกขาและมาต่างประเทศแล้วไม่ได้เรียนก็จะไม่อยู่อย่างแน่นอน”
ที่บอกว่า ถ้าบวชแล้วไม่ได้เรียนก็จะลาสิกขา แต่ไม่ได้หมายความว่าไม่มีศรัทธาที่จะบวช
แต่อยากจะศึกษาทั้งทางโลกและทางธรรมไปพร้อม ๆ กัน
การที่มาอยู่ประเทศไทยก็เช่นกันก็มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาเท่านั้น
หลังจากเรียนจบแล้วก็จะกลับไปทำงานอยู่ที่บ้านหรืออาจครองเพศบรรพชิตต่อไป
ช่วงระยะเวลา
6 ปี
ที่มาอาศัยอยู่ประเทศไทยก็ได้เรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ เริ่มแรกก็ยังไม่รู้อะไรเท่าไหร่นักแต่ก็ค่อยๆ
ปรับตัวไปตามสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะอยู่วัดพระธาตุผาเงา อำเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียงราย มีกิจกรรมหลายๆ ให้ทำทางด้านพระพุทธศาสนา เช่น การปฏิบัติธรรม
ศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกนักธรรมและแผนกบาลี และอื่นๆ เพื่อสืบต่อพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไป
เมื่อย้ายกลับไปอยู่บ้านก็สามารถนำความรู้และประสบการไปพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
ประวัติการทำงาน
หลังจากได้มาอาศัยอยู่วัดพระธาตุผาเงา
เป็นเวลา 2 ปี
หลวงพ่อท่านเจ้าอาวาส ได้มอบหมายให้ช่วยดูแลเด็กศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นกรรมการฝ่ายสาธารณูปการ
และเป็นพระวิทยากรค่ายคุณธรรมจริยธรรม ของวัดพระธาตุผาเงา ต.เวียง อ.เชียงแสน
จ.เชียงราย และยังได้ช่วยงานหลายๆ อย่างเกี่ยวกับวัดเป็นประจำทุกๆ วัน
แต่ก็เอาเวลามาสนใจการศึกษาที่กำลังเรียนอยู่ในปัจจุบัน
ที่อยู่ปัจจุบัน
391 วัดพระธาตุผาเงา
หมู่ที่ 5 ตำบลเวียง
อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 57150
ติดต่อสอบถาม
โทรศัพท์ 0861946340
เฟสบุ๊ค Somsack Samachitto Bhikkhu
คติธรรมประจำใจ “ความฮู้ยังน้อย ค่อยเพียนเอา”
Saturday, May 27, 2017
Wednesday, May 10, 2017
Wednesday, May 3, 2017
Tuesday, April 18, 2017
Monday, April 17, 2017
Friday, April 14, 2017
ໄຂປິດສະໜາບັນຫາສັງກາດປີໃໝ່ລາວ (Opening the sacred of Lao New Year Festival era)
ໄຂປິດສະໜາບັນຫາສັງກາດປີໃໝ່ລາວ (ການໃຊ້ ຈ.ສ., ພ.ສ. ຫຼື ຄ.ສ.)
___________________________
ການສະເຫຼີມສະຫຼອງປີໃໝ່ລາວແມ່ນໜຶ່ງໃນຮີດ 12 ທີ່ໄດ້ສືບທອດປະຕິບັດກັນມາຫຼາຍສະຕະວັດມາແລ້ວ ແຕ່ບັນຫາກ່ຽວກັບການປ່ຽນສັງກາດໃນມື້ຂຶ້ນປີໃໝ່ ກໍຍັງມີຄົນຈຳນວນບໍ່ໜ້ອຍທີ່ບໍ່ທັນເຂົ້າໃຈຢ່າງຖືກຕ້ອງ, ຍ້ອນວ່າສັງກາດທີ່ປ່ຽນໃນມື້ນັ້ນ ບໍ່ໄດ້ຮັບການນຳໃຊ້ຢ່າງກວ້າງຂວາງ ແລະເປັນທາງການຢູ່ໃນສັງຄົມລາວເຮົາ.
ຄຳວ່າ “ສັງກາດ” ມີເຄົ້າມາຈາກ ຄຳປາລີ “ສັກກະຣາຊະ” ດັດແປງມາເປັນສັກກະລາດ ເປັນການເອົາຄຳເວົ້າສອງຄຳມາປະສົມເຂົ້າກັນຄື: ສັກກະ + ຣາຊະ. ສັກກະ ແປວ່າ ປີ, ຣາຊະ ແປວ່າ ເຈົ້າຊີວິດ ລວມເຂົ້າກັນແລ້ວມີຄວາມໝາຍວ່າ “ປີທີ່ໃຊ້ເປັນທາງລາຊະການ” ເຊິ່ງມີຈຸດເລີ່ມຕົ້ນ ແລະນັບຕໍ່ໆກັນມາຕາມລຳດັບ. ຄຳວ່າສັກກະລາດໄດ້ຖືກດັດແປງມາເປັນສັງກາດ ເພື່ອໃຫ້ເວົ້າງ່າຍ ແລະມີລັກສະນະມະຫາຊົນ, ໂດຍບໍ່ຕ້ອງຕິດພັນແຕ່ສະເພາະກັບເຈົ້າຊີວິດ. ດັ່ງນັ້ນ ໃນທີ່ນີ້ຜູ້ຂຽນບົດໄດ້ໃຊ້ຄຳວ່າ ‘ສັງກາດ’ ເນື່ອງຈາກວ່າຍຸກຂອງພະລາຊາ ຫຼືຍຸກສັກດິນາໄດ້ຜ່ານກາຍມາແລ້ວ.
ໃນຍຸກບູຮານຄົນລາວໄດ້ຮັບເອົາວັດທະນະທຳຈາກອິນເດຍທີ່ມາກັບສາສະໜາພາມ ຈົນຕໍ່ມາເຖິງສາສະໜາພຸດ ແລະໄດ້ຮັບເອົາສັງກາດຈາກສາສະໜາທັງສອງນັ້ນມາໃຊ້. ເອົາຈາກສາສະໜາພາມມີ ມະຫາສັງກາດ (ມ.ສ) ຫຼື ສັງກາດຫຼວງ ແລະ ຈຸນລະສັງກາດ (ຈ.ສ) ມີຄວາມໝາຍວ່າສັງກາດນ້ອຍ. ສ່ວນທີ່ເອົາມານຳສາສະໜາພຸດກໍແມ່ນພຸດທະສັງກາດ (ພ.ສ).
ມະຫາສັງກາດ ເລີ່ມຕົ້ນນັບ 1 ໃນປີທີ່ເຈົ້າພະຍາກະນິດຖະກະ ກະສັດຜູ້ຍິ່ງໃຫຍ່ແຫ່ງລາຊະວົງສະກະຂຶ້ນຄອງອານາຈັກກຸສານະຢູ່ທາງທິດຕາເວັນຕົກສຽງເໜືອຂອງປະເທດອິນເດຍ ພາຍຫຼັງພະພຸດທະເຈົ້າປະລິນິບພານໄປແລ້ວໄດ້ 621 ປີ (ພ.ສ 621 ກົງກັບ ຄ.ສ 78), ປາກົດເຫັນຢູ່ໃນສິລາຈາລຶກຍຸກບູຮານ, ສັງກາດນີ້ໄດ້ຖືກນໍາໃຊ້ມາເປັນ ເວລາ 560 ປີ. ຈົນຮອດປີ ພ.ສ 1181 ພະບຸບພະໂສຣະຫັນໄດ້ລາສິກຂາ ແລະຂຶ້ນຄອງລາດໃນອານາຈັກພຸກາມ (ປັດຈຸບັນຢູ່ໃນປະເທດມຽນມາ) ແລ້ວຕັ້ງຈຸນລະສັງກາດ (ຈ.ສ) ຂຶ້ນ ໂດຍເລີ່ມນັບ 1 ຕັ້ງແຕ່ປີນັ້ນມາ. ຈຸນລະສັງກາດໄດ້ນຳມາໃຊ້ແທນມະຫາສັງກາດທີ່ເລີກໃຊ້ໄປແລ້ວ ແລະຖືກໃຊ້ຄຳນວນທາງໂຫລາສາດເຊິ່ງມີຄວາມແມ່ນຍຳດີ ຈິ່ງເປັນທີ່ນິຍົມແພ່ຫຼາຍໄປໃນບັນດາປະເທດແລະເຂດແຄວ້ນທີ່ນັບຖືສາສະໜາພາມປົນເປໄປກັບສາສະໜາພຸດ. ຈຸນລະສັງກາດນີ້ໃຊ້ກັບປະຕິທິນທາງສຸລິຍະຄະຕິ ໂດຍຖືເອົາເວລາທີ່ພະອາທິດໂຄຈອນຂຶ້ນສູ່ລາສີເມດ (ຕາມຕຳລາໂຫລາສາດຖືວ່າພະອາທິດ ຫຼືຕາເວັນໂຄຈອນເຄື່ອນຍ້າຍໄປໃນ 12 ຮອບຂອງລາສີເປັນວັດຕະຈັກ) ເຊິ່ງກົງກັບວັນທີ 16 ເມສາ ເປັນມື້ສັງຂານຂຶ້ນ ຫຼືມື້ປີໃໝ່. ຮອດວັນທີ 16 ເມສາປີນີ້ ແມ່ນປ່ຽນເປັນປີຈຸນລະສັງກາດຈາກ 1378 ມາເປັນ 1379.
ສ່ວນພຸດທະສັງກາດແມ່ນຖືເອົາຕາມປະຕິທິນທາງຈັນທະຄະຕິໂດຍເລີ່ມຕົ້ນນັບແຕ່ມື້ພະພຸດທະເຈົ້າປະລິນິບພານ (ຕາຍ) ໃນມື້ເພັງເດືອນ 6, ດັ່ງນັ້ນ ມື້ປ່ຽນພຸດທະສັງກາດ (ພ.ສ) ໃໝ່ແມ່ນມື້ແຮມ 1 ຄ່ຳເດືອນ 6 ຂອງທຸກໆປີ ເຊິ່ງປີນີ້ແມ່ນວັນທີ 10 ພຶດສະພາ ເປັນວັນປ່ຽນພຸດທະສັງກາດ ຈາກ 2559 ມາເປັນ 2560.
ການນັບພຸດທະສັງກາດແມ່ນຖືເອົາຕາມຄວາມເຊື່ອຂອງພຸດທະສາສະນິກະຊົນທີ່ເຊື່ອກັນວ່າສາສະໜາພຸດຈະຄົງຕົວຢູ່ຈົນຮອດ 5.000 ປີ. ຊາວພຸດຈິ່ງໄດ້ເລີ່ມນັບແຕ່ມື້ພະພຸດທະເຈົ້າປະລິນິບພານເປັນຕົ້ນມາ ເຊິ່ງປະເທດທີ່ນັບຖືສາສະໜາພຸດສ່ວນຫຼາຍ (ຍົກເວັ້ນປະເທດໄທ) ຍັງຖືເອົາວັນ ແຮມ 1 ຄ່ຳເດືອນ 6 ເປັນມື້ປ່ຽນ ພ.ສ ມາຈົນເຖິງປັດຈຸບັນ. ເນື່ອງຈາກວ່າມື້ປ່ຽນຈຸນລະສັງກາດຫາມື້ປ່ຽນພຸດທະສັງກາດນັ້ນບໍ່ໄກກັນຫຼາຍປານໃດ, ປະກອບກັບຄົນລາວເຮົາຮູ້ ພ.ສ ດີກວ່າ ຈ.ສ ຈິ່ງມັກພາກັນເວົ້າ ພ.ສ ໃໝ່ໃສ່ໃນໂອກາດປີໃໝ່ລາວເລີຍ, ເຊັ່ນປີນີ້ກໍວ່າ ປີໃໝ່ລາວ ພ.ສ 2560. ມີພຽງແຕ່ປະເທດໄທທີ່ຖືເອົາພຸດທະສັງກາດເປັນສັງກາດທາງລັດຖະການໂດຍກຳນົດໃຫ້ປ່ຽນໃນວັນທີ 1 ມັງ ກອນ ມື້ດຽວກັບການປ່ຽນ ຄ.ສ ທີ່ໃຊ້ກັນຫຼາຍໃນທົ່ວໂລກ ດ້ວຍເຫດຜົນທີ່ວ່າປະເທດໄທມີຄົນນັບຖືສາສະໜາພຸດເປັນຈຳນວນຫຼວງຫຼາຍ.
ຄຣິສຕະສັງກາດ (ຄ.ສ) ຕັ້ງຂຶ້ນເມື່ອພຸດທະສັງກາດ ເກີດຂຶ້ນແລ້ວ 543 ປີ, ໂດຍຖືເອົາວັນເກີດຂອງພະເຍຊູ (ວັນທີ 25 ທັນວາ) ເປັນຫຼັກ ແລ້ວປ່ຽນວັນຂຶ້ນປີໃໝ່ຈາກເມື່ອກ່ອນຊາວເອີຣົບໄດ້ກຳນົດເອົາວັນທີ 1 ເມສາ ຍ້າຍມາເປັນວັນທີ 1 ມັງກອນ ເຊິ່ງຖືເປັນປີໃໝ່ສາກົນ. ສັງກາດນີ້ໄດ້ຖືກນຳໃຊ້ຢູ່ໃນລາວ ຕັ້ງແຕ່ສະໄໝຕົກເປັນຫົວເມືອງຂຶ້ນຂອງຝຣັ່ງ ແລະໄດ້ໃຊ້ເປັນທາງການຕະຫຼອດມາ ເພື່ອໃຫ້ການຂຽນບັນທຶກປະຫວັດສາດເປັນເອກະພາບກັບປະເທດຕ່າງໆໃນທົ່ວໂລກທີ່ຍອມຮັບຕາມຄ່ານິຍົມແບບຕາເວັນຕົກ.
ລວມຄວາມວ່າສັງກາດທີ່ໃຊ້ຢູ່ໃນ ສປປ ລາວ ໃນປັດຈຸບັນແບ່ງອອກເປັນ 2 ລະບົບ ຕາມປະຕິທິນຄື ສັງກາດທາງຈັນທະຄະຕິ (ນັບຕາມຮອບໝູນຂອງດວງຈັນປິ່ນອ້ອມໜ່ວຍໂລກແບ່ງເປັນເດືອນຂຶ້ນເດືອນແຮມ) ໄດ້ ແກ່ພຸດທະສັງກາດຖືກນຳໃຊ້ໃນທາງພຸດທະສາສະໜາ ເຊັ່ນ: ບຸນນະມັດສະການພະທາດຫຼວງປະຈຳປີ ພ.ສ… ແລະ ສັງກາດທາງສຸລິຍະຄະຕິ (ນັບຕາມຮອບໝູນຂອງໜ່ວຍໂລກປິ່ນອ້ອມຕາເວັນປີໜຶ່ງ 365 ວັນກັບ 6 ຊົ່ວໂມງ) ໄດ້ແກ່ຈຸນລະສັງກາດໃຊ້ສະເພາະໃນການຄຳນວນທາງໂຫລາສາດເພື່ອຫາມື້ສັງຂານລ່ວງ, ສັງຂານເນົາ ແລະສັງຂານຂຶ້ນ ແລະຄຣິສຕະສັງກາດໃຊ້ເປັນທາງການໃນທົ່ວສັງຄົມລາວ.
ຮິບໂຮມໂດຍ: ສາທຸຄຳຫຼ້າ ອິນທະວົງສັກ (ລັກຂະໂນ) ວັດຊຽງມ່ວນ ຫຼວງພະບາງ 14 ເມສາ 2017.
Subscribe to:
Posts (Atom)